เป้าหมายหลัก

ปีการศึกษา1/2557 Topic: "we are one ตะลุยอาเซียน"
เป้าหมาย(Understanding Goal) :
เข้าใจและสามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างภารดรภาพ ยอมรับความแตกต่างทางประเพณี วัฒนธรรมของแต่ละสังคม เคารพสิทธิ์ของผู้อื่นและตนเอง รวมทั้งวางแผนเตรียมรับมือหรือแก้ปัญหาที่จะเกิดขึ้นในอนาคตได้อย่างมีวิจารณญาณ

วันพฤหัสบดีที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2557


Mind Mapping (เนื้อหา/ครู)


Big Question :
1:ถ้าเปิดประชาคมอาเซียนจะส่งผลดี ผลเสียต่อคนในประเทศอย่างไรและ นักเรียนเตรียมรับมือกับสิ่งที่จะเกิดขึ้นอย่างไร
2:ทำไมภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ถึงมีความหลากหลายทางเชื้อชาติ ศาสนา วัฒนธรรม และการปกครองและทำไมต้องมีการเปิดประชาคมอาเซียน

ภูมิหลังของปัญหา
ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เป็นดินแดนที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรม เชื้อชาติ ภาษา และวิถีชีวิตความเป็นอยู่ ความหลากหลายเป็นสิ่งที่อยู่ใกล้ตัวของมนุษย์ ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน มนุษย์อยู่บนความหลากหลายตลอดเวลา เช่น วัฒนธรรม ความเชื่อ ประเพณี ศาสนา รวมถึงวิถีชีวิตความเป็นอยู่ ความหลากหลายเหล่านี้ไม่ได้มีเฉพาะในประเทศไทยแต่เกิดขึ้นและอยู่กับทุกๆประเทศ ปีพ.ศ.2558 เกิดเสรีทางการ เข้า-ออกประเทศได้ง่ายขึ้น ผู้คนสามารถเดินทางและไปทำงานในประเทศต่างๆได้ง่าย กลุ่มแรงงานรวมไปถึงนายทุนเกิดการขยับขยาย บริษัทและโรงงานต่างหันไปลงทุนในประเทศมีต้นทุนต่ำและมีทรัพยากรมากเช่น ลาว พม่า และเวียดนาม คนไทยบางส่วนจะตกงาน หางานยากขึ้น ทรัพยากรต่างๆถูกใช้เพิ่มขึ้น เนื่องจากจำนวนคนในประเทศเพิ่มขึ้น ความต้องการก็มีมากขึ้น
จากปัญหาที่กล่าวมาข้างต้น นักเรียนชั้น ป.5 จึงสนใจที่จะเรียนรู้PBLหน่วย”we are one ตะลุยอาเซียน” นักเรียนจะอยู่ในสังคมที่มีความหลากหลายต่างๆอย่างไรให้มีความสุข พอดี และพอใจในสิ่งที่มี

ตารางวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัด


ปฏิทินการเรียนรู้แบบบูรณาการ PBL (Problem Based Learning)
หน่วย : we are one ตะลุยอาเซียน
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 Quarter
 2 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557

week
input
process
Output
Outcome
1
โจทย์ : วางแผนการเรียนรู้
Key Questions :
- นักเรียนจะออกแบบ/วางแผน การเรียนรู้ตลอด 10 สัปดาห์อย่างไร
เหตุการณ์ที่นักเรียนดีใจ/เสียในช่วงปิดเรียนมีอะไรบ้าง
นักเรียนจะตั้งชื่อให้สอดคล้องกับหน่วยนี้ว่าอะไร เพราะเหตุใดจึงใช้ชื่อนั้น
เครื่องมือคิด :
Round Rubin  : ครูและนักเรียนพูดคุยเกี่ยวกับเหตุการณ์ในช่วงปิดเรียน
Think Pair Share :  ตั้งชื่อหน่วย, สิ่งที่รู้แล้วและสิ่งที่อยากเรียนรู้
Blackboard Share : ตั้งชื่อหน่วย,สิ่งที่รู้แล้วสิ่งที่อยากเรียนรู้(แผ่นใหญ่)
Show and Share : สิ่งที่รู้แล้วและสิ่งที่อยากเรียนรู้รายบุคคล
Wall Thinking : สิ่งที่รู้แล้วสิ่งที่อยากเรียนรู้(แผ่นใหญ่)

สื่อและแหล่งเรียนรู้:
-   เรื่องเล่าในช่วงปิดเรียนจากครูและนักเรียน
- บรรยากาศในชั้นเรียน
-  หนังสือ/ห้องสมุด

กระบวนการวางแผนการเรียนรู้
-   ครูและนักเรียนพูดคุยสิ่งที่นักเรียนทำในช่วงปิดเรียน
ครูกระตุ้นการคิดด้วยคำถามว่า
-  ตั้งชื่อหน่วยผ่านเครื่องมือคิด
Think Pair Share, Blackboard Share
-  วาดภาพตกแต่งหน้าห้องเรียนให้สอดคล้องกับหน่วย
 -  เขียนสรุปองค์ความรู้ก่อนเรียน  
(Mind Mapping)
- เขียนสิ่งที่รู้แล้วและสิ่งที่อยากรู้
ทำปฏิทินการเรียนรู้ 10 สัปดาห์(รายบุคคล)
ก่อนการสรุปความรู้รายสัปดาห์ ครูใช้คำถามกระตุ้นคิด เช่น
 นักเรียนได้เรียนรู้อะไรอะไรในสัปดาห์นี้และอย่างไร
ความรู้ความเข้าใจในสัปดาห์นี้
-  นักเรียนเจอปัญหาอะไรและมีวิธีการแก้ปัญหาอย่างไร
-  นักเรียนรู้สึกอย่างไรกับกิจกรรมที่ทำในสัปดาห์นี้
- นักเรียนจะนำความเข้าใจที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวันอย่างไร
- นักเรียนจะทำอะไรในสัปดาห์ต่อไป
-   นักเรียนเขียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์โดยเทคนิคการเขียนบรรยาย
ชิ้นงาน
-  สรุปองค์ความรู้ก่อนเรียน (Mind Mapping)
-  สิ่งที่รู้แล้ว สิ่งที่อยากเรียนรู้
ทำสิ่งที่รู้แล้วและสิ่งที่อยากเรียนรู้ (แผ่นใหญ่)
ทำเค้าโครงปฏิทินการเรียนรู้แต่ละสัปดาห์
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน
-  ระดมความตั้งชื่อหน่วย
-  ออกแบบวางแผนทำปฏิทินการเรียนรู้
- ทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ตลอดสัปดาห์
ความรู้
สามารถทบทวนความรู้ความเข้าใจก่อนเรียนผ่านการเขียนสิ่งที่รู้แล้ว, Mind Mapping และสามารถออกแบบวางแผน กระบวนการเรียนรู้ตลอด 10 สัปดาห์ได้
ทักษะ
ทักษะชีวิต
-  ใช้ทรัพยากรของห้องที่มีอยู่อย่างจำกัดให้คุ้มค่าและเหมาะสม
-   เก็บกวาด อุปกรณ์ ทุกครั้งหลังทำงานเสร็จ
- ออกแบบปฏิทินการเรียนรู้ได้
ทักษะการสื่อสาร
-   พูด/สื่อสารเหตุการณ์ที่ตนเองดีใจและเสียใจในวันหยุดที่ผ่านมาได้
-   เสนอความคิดเห็นเกี่ยวกับการออกแบบปฏิทินได้
ทักษะการคิด
  -คิดสร้างสรรค์หัวข้อหน่วยที่อยากเรียนรู้
-  สามารถคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลสิ่งที่อยากเรียนรู้เพื่อออกแบบกิจกรรม
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
สามารถทำงานเป็นทีมและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นได้
ทักษะ ICT
สามารถสืบค้นหาข้อมูลที่ตนเองสนใจอยากเรียนรู้จากแหล่งต่างๆเช่น Internet ผู้รู้หรือ ห้องสมุดได้
คุณลักษณะ
- กระตือรือร้นในการทำงาน
- มีความพยายามทำงานจนสำเร็จ
รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
กล้าแสดงความคิดเห็น

2
โจทย์ : สภาพภูมิศาสตร์ ภูมิอากาศ และลักษณะทางกายภาพ
Key Questions :
-ทำไมสภาพภูมิศาสตร์ ของแต่ละประเทศแตกต่างกัน
- แม่น้ำสายใดในอาเซียนที่มีความยาวมากที่สุดเพราะเหตุใด และมีประวัติความเป็นมาอย่างไร
เครื่องมือคิด :
Round Rubin  : ทบทวนกิจกรรม/ปฏิทินการเรียนรู้
Blackboard Share : จัดเรียงลำลับกิจกรรม
Show and Share : นำเสนอปฏิทินการเรียนรู้
Wall Thinking : ปฏิทินการ
สื่อและแหล่งเรียนรู้:
-  กระดาษ บรู๊ฟ
-  สี/ปากกาเคมี
- กระดาษ A3 A4
-  ห้องสมุด
-  บรรยากาศในห้องเรียน


ทำปฏิทินการเรียนรู้ 10 สัปดาห์ผ่านเครื่องมือคิด  Blackboard Share
-  นักเรียนแบ่งกลุ่มเป็น 10 กลุ่มจับฉลากเลือกประเทศที่จะต้องศึกษาค้นคว้าตลอด 10 สัปดาห์
     ครูกระตุ้นคิดด้วยคำถามทำไมสภาพภูมิศาสตร์ ของแต่ละประเทศแตกต่างกัน
-   นักเรียน ศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับประเทศที่ตนเองจับฉลากได้พร้อมออกแบบวางแผนทำความเข้าใจให้ครูและเพื่อนฟังในรูปแบบต่างๆ  เช่น ชาร์ตความรู้, นิทาน, Place Mats ฯลฯ
ครูและนักเรียนสนทนาเกี่ยวกับเรื่องแม่น้ำในประเทศสมาชิกอาเซียนโดยใช้คำถามกระตุ้นคิดว่า นักเรียนคิดว่าแม่น้ำสายใดในอาเซียนที่มีความยาวมากที่สุด เพราะอะไร ทำไมจึงคิดอย่างนั้น ( Round Rubin)
- ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปว่าแม่น้ำสายใดยาวที่สุดในอาเซียน เพราะเหตุใดและแม่น้ำในประเทศที่นักเรียนค้นคว้ามาอยู่ลำดับใด (Blackboard  Share)
- นักเรียนทำนิทานเส้นทางของแม่น้ำของประเทศที่เลือกว่าไหลผ่านที่ใดบ้างโดยใช้คำถามกระตุ้นคิด เกิดเหตุการณ์อะไร เกิดกับใคร ทำไมถึงคิดอย่างนั้น พร้อมตั้งชื่อนิทานของตนเอง(รายบุคคล)
ก่อนการสรุปความรู้รายสัปดาห์ ครูใช้คำถามกระตุ้นคิด เช่น
 นักเรียนได้เรียนรู้อะไรอะไรในสัปดาห์นี้และอย่างไร
ความรู้ความเข้าใจในสัปดาห์นี้ มีอะไรบ้าง
-  นักเรียนเจอปัญหาอะไรและมีวิธีการแก้ปัญหาอย่างไร
-  นักเรียนรู้สึกอย่างไรกับกิจกรรมที่ทำในสัปดาห์นี้
- นักเรียนจะนำความเข้าใจที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวันอย่างไร
- นักเรียนจะทำอะไรในสัปดาห์ต่อไป
-   นักเรียนเขียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์โดยเทคนิคการเขียนบรรยาย


ชิ้นงาน
  -ชาร์ตความรู้เกี่ยวกับสภาพภูมิศาสตร์
-นิทานแม่น้ำในประเทศที่ตนเองได้
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ภาระงาน
ศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับสภาพภูมิศาสตร์
 ของประเทศที่ตนเองได้ นำเสนอให้ครูและเพื่อนฟัง
- แลกเปลี่ยนสะท้อนสิ่งที่เรียนรู้ตลอดสัปดาห์
ความรู้
สามารถเข้าใจสภาพภูมิศาสตร์
ที่แตกต่างของแต่ละประเทศในอาเซียนได้
 ทักษะ:
 ทักษะชีวิต
-  ใช้ทรัพยากรของห้องที่มีอยู่อย่างจำกัดให้คุ้มค่าเช่น สี กระดาษ กรรไกร
-เห็นการเชื่อมโยง เห็นความสัมพันธ์ของเนื้อหาและกิจกรรมที่เรียน
ทักษะการคิด
คิดสร้างสรรค์ชิ้นงาน ออกแบบชิ้นงานเช่น นิทาน
-  คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับสภาพภูมิศาสตร์ ภูมิอากาศ และลักษณะทางกายภาพของอาเซียน
ทักษะการสื่อสาร
พูดนำเสนอข้อมูลที่หาได้จากแหล่งเรียนรู้ต่างๆให้ครูและเพื่อนๆฟังได้
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
   -สามารถทำงานเป็นทีมและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นได้
คุณลักษณะ
- กระตือรือร้นในการทำงาน
- มีความพยายามทำงานจนสำเร็จ
รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
กล้าแสดงความคิดเห็น


3
โจทย์ : เศรษฐกิจ/เศรษฐศาสตร์อาเซียน
Key Questions :
-  จุดแข็ง/จุดอ่อน ของแต่ละประเทศมีอะไรบ้าง และส่งผลอย่างไรกับตัวนักเรียน
- การเกิดเสรีทางการ เข้า-ออกประเทศได้ง่ายขึ้นส่งผลต่อตัวนักเรียนอย่างไรและ
นักเรียนจะรับมืออย่างไร
เครื่องมือคิด :
Round Rubin  : สนทนาเกี่ยวกับระบบเศรษฐกิจของแต่ละประเทศ
Blackboard Share : เสรีทางการเข้า-ออก ประเทศเมื่อเปิดประชาคมอาเซียน
Show and Share :  ชาร์ตความรู้จุดแข็ง/จุดอ่อนของแต่ละประเทศ
ชักเย่อความคิด : เมื่อเปิดประชาคมอาเซียนเศรษฐกิจของประเทศไทยจะดีขึ้นจริงหรือไม่
Card and Chart :การเปลี่ยนแปลง/ปัญหาที่ตามมาหลังจากเปิดประชาคมอาเซียน

สื่อและแหล่งเรียนรู้:
-  ห้องสมุด
-  อินเทอร์เน็ต
-  บรรยากาศในห้องเรียน
-  กระดาษ บรู๊ฟ
-  กระดาษ A4

- ครูและนักเรียนสนทนาเกี่ยวกับเศรษฐกิจของประเทศสมาชิกอาเซียนโดยใช้คำถามกระตุ้นคิดว่า ทำไมแต่ละประเทศถึงรวย/จนไม่เท่ากันเพราะอะไรแล้วนักเรียนคิดว่าอย่างไรถึงเป็นอย่างนั้น(Round Rubin)
- นักเรียนค้นคว้าข้อมูลของประเทศที่ตนเองได้เกี่ยวกับจุดแข็ง/จุดอ่อนของประเทศนั้นๆนำเสนอให้ครูและเพื่อนฟังผ่านชาร์ตความรู้
-ครูและนักเรียนสนทนาแลกเปลี่ยนความรู้ เกี่ยวกับการเปิดเสรี โดยครูใช้คำถามกระตุ้นคิด นักเรียนคิดว่าถ้าเปิดเสรีแล้วจะส่งผลอย่างไรกับตัวนักเรียนเองและครอบครัวและสังคม เพราะเหตุใดจึงคิดอย่างนั้น แล้วจะมีวิธการรับมือกับปัญหาอย่างไร (Round Rubin)
- นักเรียนทำการ์ตูนช่องเกี่ยวกับผลที่จะตามมาหลังจากเปิดเสรีทางการเข้า-อกประเทศไทยตามจินตนาการณ์
-นักเรียนคิดว่าเมื่อเปิดประชาคมอาเซียนเศรษฐกิจของประเทศไทยจะดีขึ้นจริงหรือไม่(ชักเย่อความคิด)
- เมื่อเปิดอาเซียนนักเรียนคิดว่าจะมีการเปลี่ยนแปลงใดเกิดขึ้นบ้างและนักเรียนจะมีวิธีรับมือกับปัญหาอย่างไร( Card and Chart)
ก่อนการสรุปความรู้รายสัปดาห์ ครูใช้คำถามกระตุ้นคิด เช่น
 นักเรียนได้เรียนรู้อะไรอะไรในสัปดาห์นี้และอย่างไร
ความรู้ความเข้าใจในสัปดาห์นี้ มีอะไรบ้าง
-  นักเรียนเจอปัญหาอะไรและมีวิธีการแก้ปัญหาอย่างไร
-  นักเรียนรู้สึกอย่างไรกับกิจกรรมที่ทำในสัปดาห์นี้
- นักเรียนจะนำความเข้าใจที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวันอย่างไร
- นักเรียนจะทำอะไรในสัปดาห์ต่อไป
-  นักเรียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ (Mind mapping)




ชิ้นงาน
-ชาร์ตความรู้ จุดแข็งจุดอ่อนของประเทศที่ตนเองได้
- ทำการ์ตูนช่องเกี่ยวกับผลที่จะตามมาหลังจากการเปิดประเทศแบบเสรี
ภาระงาน
ศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับเศรษฐกิจ/จุดแข็ง-จุดอ่อนของประเทศที่ตนเองได้รับหมอบหมายนำเสนอครูและเพื่อนฟัง
-หาวิธีรับมือกับปัญหาที่จะเกิดตามมาเมื่อเกิดเสรีทางการ เข้า-ออกประเทศ
- แลกเปลี่ยนสะท้อนสิ่งที่เรียนรู้ตลอดสัปดาห์
ความรู้
เข้าใจเกี่ยวกับเศรษฐกิจ/จุดแข็ง-จุดอ่อนของประเทศสมาชิกอาเซียนแต่ละประเทศ รู้วิธีการที่จะรับมือเมื่อมีการเข้าออกประเทศอย่างเสรี
ทักษะ
ทักษะชีวิต
-  ใช้ทรัพยากรของห้องที่มีอยู่อย่างจำกัดให้คุ้มค่าและเหมาะสม
-   เก็บกวาด อุปกรณ์ ทุกครั้งหลังทำงานเสร็จ
ทักษะการคิด
คิดสร้างสรรค์ชิ้นงาน ออกแบบชิ้นงานเช่น ชาร์ตความรู้,การ์ตูนช่อง
-สามารถ วิเคราะห์ สังเคราะห์ เกี่ยวกับสภาพเศรษฐกิจของแต่ละประเทศได้และ วิเคราะห์สภาพเศรษฐกิจของประเทศไทยหลังจากเปิดประชาคมอาเซียน
ทักษะการสื่อสาร
  พูดนำเสนอข้อมูลที่หาได้จากแหล่งเรียนรู้ต่างๆให้ครูและเพื่อนๆฟังได้คุณลักษณะ
- กระตือรือร้นในการทำงาน
- มีความพยายามทำงานจนสำเร็จ
รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
กล้าแสดงความคิดเห็น
4
โจทย์ : การเมืองการปกครอง หน้าทีพลเมือง และการดำเนินชีวิตในสังคม
Key Question :
- ทำไมแต่หละประเทศมีการปกครองที่ไม่เหมือนกันเพราะเหตุใด
- ทำไมต้องมีกฎหมายและกฎหมายของแต่หละประเทศเหมือนหรือต่างกันอย่าไร
- ทำไมชาวโรฮิงญาถึงถูกขับไล่ออกจากประเทศ
เครื่องมือคิด :
Mind mapping: สรุปความเข้าใจเกี่ยวกับการปกครองของประเทศสมาชิกอาเซียน
Round Rubin  : สนทนาเกี่ยวกับการปกครองในระบอบต่างๆBlackboard Share:  ระบอบการปกครองของประเทศที่ตนเองได้รับมอบหมาย
สื่อและแหล่งเรียนรู้:
- ห้องสมุด
- อินเทอร์เน็ต
- บรรยากาศในห้องเรียน
- กระดาษ บรู๊ฟ
- กระดาษ A4
- ครูและนักเรียนสนทนาเกี่ยวกับการปกครองในระบอบต่างๆว่ามีอะไรบ้างโดยครูใช้คำถามกระตุ้นคิดว่าทำไมแต่หละประเทศมีการปกครองที่ไม่เหมือนกันเพราะเหตุใด(Round Rubin)
-นักเรียนค้นคว้าเกี่ยวกับระบอบการปกครองของประเทศที่ตนเองได้รับมอบหมายพร้อมนำเสนอครูและเพื่อนฟัง(Blackboard  Share) แล้วสรุปความเข้าใจเป็น Mind mapping(รายบุคคล)
- ครูและนักเรียนสนทนาเกี่ยวกับการปกครองในระบอบประชาธิปไตย
ในแต่หละประเทศ โดยครูใช้คำถามกระตุ้นคิดว่านักเรียนคิดว่าการปกครองในระบอบประชาธิปไตยของแต่หละประเทศเหมือนหรือต่างกันอย่างไรเพราะเหตุใด
-นักเรียนเชื่อหรือไม่ว่าการปกครองระบอบประชาธิปไตยเป็นการปกครองที่บริสุทธิ์และยุติธรรมเพราะเหตุใด(ชักเย่อความคิด)
-ครูและนักเรียนสนทนาว่ากฎหมายในประเทศต่างๆทำไมจึงไม่เหมือนกันผ่านเครื่องมือคิด Round Rubin
- นักเรียนศึกษาค้นคว้าว่ากฎหมายของประเทศที่ต้นเองได้รับมอบหมายเป็นอย่างไร
- นักเรียนทำชาร์ตความรู้(A3)เกี่ยวกับกฎหมายของประเทศตนเองพร้อมนำเสนอให้ครูและเพื่อนฟังผ่านเครื่องมือคิด Show and Share
-ออกแบบการปกครองด้วยตนเอง
-ครูและนักเรียนสนทนาถึงเรื่องราวของชาวโรฮิงญาผ่านเครื่องมือคิด Round Rubin โดยครูใช้คำถามกระตุ้นคิดว่า นักเรียนรู้สึกกอย่างไรเพราเหตุใด ถ้านักเรียนตกอยู่ในสถานการณ์นั้นนักเรียนจะรู้สึกอย่างไร
- นักเรียนศึกษาค้นคว้าข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับชาวโรฮิงญา
-ให้นักเรียนจำลองสถานการณ์ว่าตนเองเป็นหนึ่งในชาวโรฮิงญา ว่าจะต้องเจอกับเหตุการณ์อะไรบ้างและทำอย่างไรกับสถานณ์การนั้นผ่านละคร
ก่อนการสรุปความรู้รายสัปดาห์ ครูใช้คำถามกระตุ้นคิด เช่น
 นักเรียนได้เรียนรู้อะไรอะไรในสัปดาห์นี้และอย่างไร
ความรู้ความเข้าใจในสัปดาห์นี้ มีอะไรบ้าง
-  นักเรียนเจอปัญหาอะไรและมีวิธีการแก้ปัญหาอย่างไร
-  นักเรียนรู้สึกอย่างไรกับกิจกรรมที่ทำในสัปดาห์นี้
- นักเรียนจะนำความเข้าใจที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวันอย่างไร
- นักเรียนจะทำอะไรในสัปดาห์ต่อไป
- นักเรียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ตามเทคนิคที่ต้องการ( mind Mapping, เขียนบรรยาย ,นิทาน,การ์ตูนช่องฯลฯ)

ชิ้นงาน
- Mind mapping :
สรุปความเข้าใจเกี่ยวกับการปกครองของประเทศสมาชิกอาเซียน
- ชาร์ตความรู้เกี่ยวกับกฎหมายของประเทศตนเอง
-ละครจำลองสถานการณ์ว่าตนเองเป็นชาวโรฮิงญา
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์( mind mapping, เขียนบรรยาย ,นิทาน,การ์ตูนช่องฯลฯ)
ภาระงาน
-  ศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลเรื่องการปกครองของประเทศต่างๆในอาเซียน
- ศึกษาข้อมูลเรียนรู้เกี่ยวกับกฎหมายของในแต่หละประเทศ
- ศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมในเรื่องชาวโรฮิงญา
ซ้อมละคร
- แลกเปลี่ยนสะท้อนสิ่งที่เรียนรู้ตลอดสัปดาห์

ความรู้
-เข้าใจเกี่ยวกับความหมาย ความเป็นมาความสำคัญข้อดีและข้อเสียของการเปิดประชาคมอาเซียน
- เข้าใจวิถีความเป็นอยู่อย่างชาวโรฮิงญา
ทักษะ
ทักษะชีวิต
ออกแบบวางแผนรับมือกับปัญหาการเปิดอาเซียนได้
ใช้ทรัพยากรของห้องที่มีอยู่อย่างจำกัดให้คุ้มค่าเช่นสี, กระดาษ
- เห็นการเชื่อมโยง เห็นความสัมพันธ์ของปัญหาที่จะเกิดขึ้นในอนาคตเมื่อเปิดอาเซียนเรียนรู้แก้ปัญหาความขัดแย้งที่เกิดขึ้น
ทักษะ การคิด
คิดสร้างสรรค์ชิ้นงาน ออกแบบชิ้นงานเช่น นิทาน
-  คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับการปกครองที่แตกต่างกันของแต่หละประเทศ
- คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ว่าเมื่อเปิดประชาคาอาเซียนระบบเศรษฐกิจจะดีขึ้นจริงหรือไม่
- คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ว่าทำไมชาวโรฮิงญาถึงมีวิถีชีวิตความเป็นอยู่อย่างนั้น
ทักษะการสื่อสาร
คุณลักษณะ
- กระตือรือร้นในการทำงาน
- มีความพยายามทำงานจนสำเร็จ
รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
กล้าแสดงความคิดเห็น
5
โจทย์ : ศาสนา อารยธรรม ประเพณีและความเชื่อของแต่ละประเทศ
Key Questions :
-ความเหมือนและแตกต่างของแต่ละศาสนาคืออะไร เพระเหตุใด
- ทำไมศาสนาต้องมีทั้งข้อดีและข้อเสีย
- ทำไมแต่ละประเทศนับถือศาสนาไม่เหมือนกัน
-  ทำไมต้องนับถือศาสนา ไม่นับถือศาสนาได้หรือไม่ เพราะเหตุใด
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้ :
ครู
นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้ :
บรรยากาศในชั้นเรียน
- ห้องสมุด/หนังสือ
สี/ปากกาเคมี

- กระดาษ A3 A4
- แสดงละคร
- นักเรียนแบ่งกลุ่มศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลจากคำถาม แล้วนำเสนอให้ครูและเพื่อนฟัง(Show and Share )
- นักเรียนสรุปองค์ความรู้เกี่ยวกับศาสนา อารยธรรม ประเพณีและความเชื่อของแต่ละประเทศ ผ่านชาร์ตความรู้ นำเสนอให้ครูและเพื่อนๆฟัง
-คิดศาสนาของตนเอง
ก่อนการสรุปความรู้รายสัปดาห์ ครูใช้คำถามกระตุ้นคิด เช่น
 นักเรียนได้เรียนรู้อะไรอะไรในสัปดาห์นี้และอย่างไร
ความรู้ความเข้าใจในสัปดาห์นี้ มีอะไรบ้าง
-  นักเรียนเจอปัญหาอะไรและมีวิธีการแก้ปัญหาอย่างไร
-  นักเรียนรู้สึกอย่างไรกับกิจกรรมที่ทำในสัปดาห์นี้
- นักเรียนจะนำความเข้าใจที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวันอย่างไร
- นักเรียนจะทำอะไรในสัปดาห์ต่อไป
- นักเรียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ตามเทคนิคที่ต้องการ( mind mapping, เขียนบรรยาย ,นิทาน,การ์ตูนช่องฯลฯ)

ชิ้นงาน
- ชาร์ตวามรู้ คนไทยส่วนใหญ่ทำไมจึงนับถือศาสนาพุทธ
- สร้างศาสนาด้วยตนเอง
- ชาร์ตความรู้ความเหมือนและความแตกต่างของประเทศที่นับถือศาสนาเดียวกัน
- นิทานช่องความเหมือนและความแตกต่างระหว่างศาสนาพุทธ,คริสต์และอิสลาม
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน
-  แสดงละคร
- วิเคราะห์ว่าคนไทยส่วนใหญ่ทำไมจึงนับถือศาสนาพุทธ
- คิดวิเคราะห์ความเหมือนความแตกต่างกันของแต่ละศาสนา

- แลกเปลี่ยนสะท้อนสิ่งที่เรียนรู้ตลอดสัปดาห์












ความรู้
สามารถเข้าใจความแตกต่างของศาสนาต่างๆและสามารถยอมรับได้
 ทักษะ:
 ทักษะชีวิต
-  ใช้ทรัพยากรของห้องที่มีอยู่อย่างจำกัดให้คุ้มค่าเช่น สี กระดาษ กรรไกร
-เห็นการเชื่อมโยง เห็นความสัมพันธ์ของเนื้อหาและกิจกรรมที่เรียน
ทักษะการคิด
คิดสร้างสรรค์ชิ้นงาน ออกแบบชิ้นงานเช่น นิทาน
-  คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับศาสนาที่แตกต่างกันของแต่หละประเทศ
- คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ว่าเมื่อเปิดประชาคาอาเซียนจะมีกระทบทำให้คนเปลี่ยนศาสนาหรือไม่

ทักษะการสื่อสาร
พูดนำเสนอข้อมูลที่หาได้จากแหล่งเรียนรู้ต่างๆให้ครูและเพื่อนๆฟังได้
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
 - สามารถทำงานเป็นทีมและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นได้
คุณลักษณะ
- กระตือรือร้นในการทำงาน
- มีความพยายามทำงานจนสำเร็จ
รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น

กล้าแสดงความคิดเห็น

6
โจทย์ : - ประวัติศาสตร์ของประเทศสมาชิกในกลุ่มอาเซียน
Key Questions :
- ทำไมเหตุการณ์ในอดีตจึงส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงในปัจจุบันเพราะเหตุใด
- เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในอดีตเป็นเรื่องจริงหรือไม่เพราะเหตุใด
- ถ้าแก้ไขเหตุการณ์ในอดีตได้นักเรียนจะทำอย่างไรและจะส่งผลอย่างไรกับปัจจุบันเพราะเหตุใด
เครื่องมือคิด :
Mind mapping: สรุปความเข้าใจเกี่ยวกับการปกครองของประเทศสมาชิกอาเซียน
Round Rubin  : สนทนาเกี่ยวกับการปกครองในระบอบต่างๆBlackboard Share:  ระบอบการปกครองของประเทศที่ตนเองได้รับมอบหมาย
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้ :
ครู
นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้ :
บรรยากาศในชั้นเรียน
- ห้องสมุด/หนังสือ
สี/ปากกาเคมี

- กระดาษ A3 A4
วันจันทร์
ชง
- ครูและนักเรียนสนทนาเกี่ยวกับเรื่องประวัติศาสตร์โดยครูใช้คำถามกระตุ้นคิดว่า คำว่าประวัติศาสตร์ในความเข้าใจของนักเรียนคืออะไรผ่านเครื่องมือคิด Round Rubin
เชื่อม
- นักเรียนค้นคว้าเกี่ยวกับเรื่องราวความเป็นมาของประเทศตนเองตั้งแต่ยุคก่อตั้งจนถึงปังจุบัน
ใช้
- นักเรียนทำ Time Line เรื่องราวทางประวัติศาสตร์ของประเทศตนเอง
 วันอังคาร
ชง
- นักเรียนนำเสนอ Time Line ให้ครูและเพื่อนฟังผ่านเครื่องมือคิด
 Show and Share
เชื่อม
-นักเรียนค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ต่างเกี่ยวกับบุคคลสำคัญในประวัติศาสตร์ที่ทำให้ประเทศนั้นเกิดการเปลี่ยนแปลงมาถึงปัจจุบัน
ใช้
-นักเรียนทำสมุดภาพประวัติบุคคลสำคัญ
วันพุธ
ชง
ครูและนักเรียนสนทนาเกี่ยวกับบุคลสำคัญที่นักเรียนทำสมุดภาพว่ามีความสำคัญอย่างไรกับประเทศนั้นพร้อมน้ำเสนอสมุดภาพให้ครูและเพื่อนฟังผ่านเครื่องมือคิด Show and share
เชื่อม
ครูกระตุ้นคิดด้วยคำถาม
- ถ้านักเรียนย้อนเวลากลับไปได้จะย้อนไปยังเหตุการณ์ใดและจะแก้ไขเหตุการณ์นั้นอย่าไรและเมื่อแก้ไขแล้วจะส่งผลอย่างไรกับปัจจุบันเพราะเหตุใด
ใช้
- นักเรียนทำชิ้นงาน ย้อนเวลาหาอดีต 

วันศุกร์
ชง
ครูและนักเรียนสนทนาว่าการย้อนเวลาหาอดีตองแต่ละคนเป็นอย่างไรผ่านเครื่องมือคิด Round Rubin
เชื่อม
ครูกระตุ้นคิดด้วยคำถาม
-เด็กๆคิดว่าเหตุการณ์ใดในอดีตที่ยังมีข้อสงใสอยู่ เหตุการณ์นั้นเกิดขึ้นอย่างไร
-เด็กคิดว่าเหตุการณ์นั้นเป็นเรื่องจริงหรือไม่เพราะเหตุใด
ใช้
-นักเรียนทำชิ้นงาน Yes or No (ยกตัวอย่างเหตุการณ์ในอดีตมาหนึ่งเหตุการณ์แล้ววิเคราะห์ว่าเหตุการณ์นั้นเป็นเรื่องจริงหรือไม่ ถ้าไม่จริงเหตุการณ์จริงจะเป็นอย่างไร)
ก่อนการสรุปความรู้รายสัปดาห์ ครูใช้คำถามกระตุ้นคิด เช่น
 นักเรียนได้เรียนรู้อะไรอะไรในสัปดาห์นี้และอย่างไร
ความรู้ความเข้าใจในสัปดาห์นี้ มีอะไรบ้าง
-  นักเรียนเจอปัญหาอะไรและมีวิธีการแก้ปัญหาอย่างไร
-  นักเรียนรู้สึกอย่างไรกับกิจกรรมที่ทำในสัปดาห์นี้
- นักเรียนจะนำความเข้าใจที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวันอย่างไร
- นักเรียนจะทำอะไรในสัปดาห์ต่อไป
- นักเรียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ชิ้นงาน
-Time line ประวัติเรื่องราวความเป็นมาของประเทศตนเอง
- สมุดภาพประวัติบุคคล
- ย้อนเวลาหาอดีต
-yes or no
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน
-  ศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลเรื่องประวัติศาสตร์ประเทศต่างๆในอาเซียน
- ศึกษาข้อมูลเรียนรู้เกี่ยวกับกบุคคลสำคัญของในแต่หละประเทศ

- แลกเปลี่ยนสะท้อนสิ่งที่เรียนรู้ตลอดสัปดาห์

ความรู้
- สามารถเข้าใจความเรื่องราวและความเป็นมาของแต่ละประเทศ
 ทักษะ:
 ทักษะชีวิต
-  ใช้ทรัพยากรของห้องที่มีอยู่อย่างจำกัดให้คุ้มค่าเช่น สี กระดาษ กรรไกร
-เห็นการเชื่อมโยง เห็นความสัมพันธ์ของเนื้อหาและกิจกรรมที่เรียน
ทักษะการคิด
คิดสร้างสรรค์ชิ้นงาน ออกแบบชิ้นงานเช่น
Time line
-  คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับเหตุการณ์ในอดีต
- คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ว่าเหตุการณ์ในอดีตเป็นจริงหรือไม่
ทักษะการสื่อสาร
- พูดนำเสนอข้อมูลที่หาได้จากแหล่งเรียนรู้ต่างๆให้ครูและเพื่อนๆฟังได้
- นำเสนอ Time line ,สมุดภาพให้ครูและเพื่อนฟังได้
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
  สามารถทำงานเป็นทีมและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นได้
คุณลักษณะ
- กระตือรือร้นในการทำงาน
- มีความพยายามทำงานจนสำเร็จ
รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
กล้าแสดงความคิดเห็น

7

โจทย์ : สถานที่ท่องเที่ยวและสถานที่สำคัญในอาเซียน
Key Questions :
- เด็กๆจะวางแผนการเดินทางไปท่องเที่ยวประเทศต่างๆในอาเซียนได้อย่างไร เพราะเหตุใด
- เด็กๆจะวางแผนการบริหารเงินอย่างไรในการเดินทางครั้งนี้
- ทำไมจึงเลือกที่จะไปยังสถานที่นั้นเพราะเหตุใด
- เด็กๆจะถ่ายทอดประสบการณ์ การเดินทางท่องเทียวในครั้งนี้อย่างไร
เครื่องมือคิด :
Round Rubin  : สนทนาเกี่ยวกับสถานที่ท่องเที่ยวที่นักเรียนรู้จักBlackboard Share:  สถานที่ท่องเที่ยวและสถานที่สำคัญของแต่ละประเทศ
Show and Share : นำเสนอแผนการเดินทาง, นำเสนอนิทาน
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้ :
ครู
นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้ :
บรรยากาศในชั้นเรียน
- ห้องสมุด/หนังสือ
สี/ปากกาเคมี

- กระดาษ A3 A4

- ครูและนักเรียนสนทนาว่านักเรียนรู้จักสถานที่ท่องเที่ยว/สถานที่สำคัญใดบ้างในประเทศตนเองผ่านเครื่องมือคิด Round Rubin
- นักเรียนสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับสถานที่ท่องเที่ยวและสถานที่สำคัญในประเทศตนเองพร้อมนำเสนอครูและเพื่อนฟังผ่านเครื่องมือคิด Blackboard  Share
- นักเรียนออกแบบ/วางแผนการเดินทางว่าจากประเทศไทยจะไปยังประเทศที่ตนเองได้รับมอบหมายอย่างไร(ระบุวัน เวลา งบประมานที่ใช้ และเส้นทางการเดินทางอย่างชัดเจน)
- ครูและนักเรียนสนทนาว่าการวางแผนการเดินทางเป็นอย่างไรแต่ละคนไปที่ใดบ้างผ่านเครื่องมือคิด Round Rubin
-นักเรียนถ่ายทอดให้ครูและเพื่อนฟังว่าไปที่ใดบ้างและเจอกับอะไรบ้างขณะเดินทาง และมีปัญหาอุปสรรคอย่างไรผ่านเครื่องมือคิด Show and Share
-นักเรียนทำนิทานถ่ายทอดประสบการณ์การเดินทางในครั้งนี้ว่าเป็นอย่างไร ไปที่ใดบ้าง พบเห็นอะไรบ้าง และรู้สึกอย่างไรกับการเดินทางในครั่งนี้มีปัญหาและการแก้ปัญหาอย่างไร

นักเรียนนำเสนอนิทานของตนเองให้ครูและเพื่อนฟังผ่านเครื่องมือคิด
 Show and Share
- ครูและนักเรียนสนทนาว่าสถานที่ที่นักเรียนเลือกไปเที่ยวนั้นมีเรื่องราวความเป็นมาและมีความสำคัญกับประเทศนั้นอย่างไรผ่านเครื่องมือคิด Round Rubin
- นักเรียนเขียนบรรยายเกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของสถานที่นั้นๆและวิเคราะห์ว่าทำไมสถานที่นั้นถึงได้รับความนิยมที่ทำให้คนต่างประเทศอยากไปท่องเที่ยว พร้อมวาดภาพประกอบ
ครูกระตุ้นคิดด้วยคำถาม ถ้ามีโอกาสที่จะเดินทางท่องเที่ยวอีกครั้งจะไปประเทศใดในอาเซียนเพราะเหตะใด ผ่านเครื่องมือคิด Round Rubin
ครูและนักเรียนสนทนาว่าถ้านักเรียนมีโอกาสที่จะไปท่องเที่ยวอีกครั้งทำไมนักเรียนเลือกไปประเทศนั้นเพราะเหตุใด ผ่านเครื่องมือคิด Round Rubin

- นักเรียนสรุปความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสถานที่ท่องเที่ยวต่างๆในประเทศสมาชิกอาเซียนผ่านเครื่องมือคิด Mind Mapping
- นักเรียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์(Mind mapping)

ชิ้นงาน
- แผนการเดินทาง
- นิทานถ่ายทอดประสบการณ์การเดินทาง
- ประวัติความเป็นมาของสถานที่ทองเที่ยวพร้อมวิเคราะห์
- Mind Mapping สรุปสถานที่ท่องเที่ยวและสถานที่สำคัญของประเทศสมาชิกอาเซียน
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน
-  ศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลเรื่องสถานที่ท่องเที่ยวและสถานที่สำคัญของประเทศต่างๆในอาเซียน
- ออกแบบ/วางแผนการเดินทาง
- นำเสนอแผนการเดินทาง
- นำเสนอนิทานถ่ายทอดประสบการณ์การเดินทาง
- วิเคราะห์ว่าทำไมสถานที่นั้นถึงได้รับความนิยมที่ทำให้คนต่างประเทศอยากไปท่องเที่ยว

- แลกเปลี่ยนสะท้อนสิ่งที่เรียนรู้ตลอดสัปดาห์

ความรู้
- รู้และเข้าใจเกี่ยวกับสถานที่ท่องเที่ยวต่างๆในอาเซียน
 ทักษะ:
 ทักษะชีวิต
-  ใช้ทรัพยากรของห้องที่มีอยู่อย่างจำกัดให้คุ้มค่าเช่น สี กระดาษ กรรไกร
-เห็นการเชื่อมโยง เห็นความสัมพันธ์ของเนื้อหาและกิจกรรมที่เรียน
ทักษะการคิด
คิดสร้างสรรค์ชิ้นงาน ออกแบบชิ้นงานเช่น นิทาน
-  คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องราวความเป็นมาของสถานที่ท่องเที่ยวนั้นๆ
- คิดออกแบบวางแผนการเดินทางได้
ทักษะการสื่อสาร
-พูดนำเสนอข้อมูลที่หาได้จากแหล่งเรียนรู้ต่างๆให้ครูและเพื่อนๆฟังได้
- นำเสนอแผนการเดินทางและนิทานให้ครูและเพื่อนฟังได้
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
  สามารถทำงานเป็นทีมและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นได้
คุณลักษณะ
- กระตือรือร้นในการทำงาน
- มีความพยายามทำงานจนสำเร็จ
รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น

กล้าแสดงความคิดเห็น


8
โจทย์ : วัฒนธรรม
Key Questions :
- ทำไมแต่ละประเทศมีวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน
- นักเรียนจะถ่ายทอดวัฒนธรรมการกินของประเทศตนเองอย่าไรเพราะเหตุใด
เครื่องมือคิด :
Round Rubin  : สนทนาเพื่อวางแผนการเปิดตลาด
Blackboard Share:  แบ่งหน้าที่และอุปกรณ์ที่จะต้องเตรียมมาของแต่ละคน
Show and Share : นำเสนอชาร์ตความรู้วัฒนธรรมของประเทศตนเอง
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้ :
ครู
นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้ :
บรรยากาศในชั้นเรียน
- ห้องสมุด/หนังสือ
สี/ปากกาเคมี

- กระดาษ A3 A4

- ครูและนักเรียนสนทนาว่านักเรียนว่าในวันหยุดที่ผ่านมานักเรียนทำกิจกรรมใดบ้างและกิจกรรมใดที่นักเรียนทำแล้วมีความสุขที่สุดผ่านเครื่องมือคิด Round Rubin
- นักเรียนศึกษาค้นคว้าวัฒนธรรมการกิน การแต่งกายและการใช้ภาษา ของประเทศตนเอง
- นักเรียนทำชาร์ตความรู้พร้อมนำเสนอครูและเพื่อนๆฟัง
ครูกระตุ้นคิดด้วยคำถาม
- ทำไมแต่ละประเทศจึงมีการแต่งกายที่แตกต่างกันเพราะเหตุใดผ่านเครื่องมือคิด Round Rubin
- ทำไมต้มยำกุ้งจึงได้รับความนิยมจนได้เป็นอาหารประจำชาติของไทยเพราะเหตุใดผ่านเครื่องมือคิด Round Rubin
- ทำไมภาษาอังกฤษจึงเป็นภาษาทางการที่ใช้ติดต่อสื่อสารเมื่อเปิดประชาคมอาเซียนเพราะเหตุใดผ่านเครื่องมือคิด Round Rubin
-ครูและนักเรียนสนทนาเพื่อวางแผนการเปิดตลาดในวันพุธ ซึ่งอาหารที่ทำคือแป้งจี่, ฮาม็อก, ปอเปี้ยสดและน้ำสมุนไพร
- นักเรียนค้นคว้าข้อมูลในการทำ/ส่วนประกอบต่างๆของอาหารที่จะทำในวันพรุ่งนี้
-นักเรียนทำชาร์ตความรู้วิเคราะห์ภาษา,การแต่งกาย,และอาหารของประเทศตนเองพร้อมนำเสนอครูและเพื่อนฟัง
ครูและนักเรียนสนทนาทบทวนว่ากิจกรรมในวันนี้ใครมีบทบาทหน้าที่อะไรบ้าง ผ่านเครื่องมือคิด Round Rubin
-นักเรียนแบ่งกลุ่มทำหน้าที่ของตนเอง โดยมีผู้ปกครองคอยให้คำแนะนำจากนั้นก็เปิดตลาดขายอาหารที่ทำให้พี่ๆน้องๆได้รับประทาน
ครูและนักเรียนแลกเปลี่ยนสะท้อนกันว่ามีสิ่งไหนที่ทำได้ดีแล้วและสิ่งไหนที่ควรปรับปรุงในการเปิดตลาดในวันพุธที่ผ่านมาผ่านเครื่องมือคิด Round Rubin

- นักเรียนสรุปการเปิดตลาดว่ามีเป้าหมายอย่างไรมีปัญหาและวิธีแก้ปัญหาอย่างไร

ชิ้นงาน
- ชาร์ตความรู้วัฒนธรรมการกินการแต่งกายและการใช้ภาษาของประเทศตนเอง
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน
- ออกแบบ/วางแผนการเปิดตลาด
- เตรียมอุปกรณ์ที่ใช้ในการทำอาหาร

- แลกเปลี่ยนสะท้อนสิ่งที่เรียนรู้ตลอดสัปดาห์
ความรู้
- รู้และเข้าใจเกี่ยวกับวัฒนธรรมการกินการแต่งกายและการใช้ภาของประเทศตนเอง
 ทักษะ:
 ทักษะชีวิต
-  ใช้ทรัพยากรของห้องที่มีอยู่อย่างจำกัดให้คุ้มค่าเช่น สี กระดาษ กรรไกร
-เห็นการเชื่อมโยง เห็นความสัมพันธ์ของเนื้อหาและกิจกรรมที่เรียน
- เรียนรู้การใช่ทรัพยากรที่มีอยู่รอบตัว
ทักษะการคิด
- คิดออกแบบวางแผนการเปิดตลาดได้
ทักษะการสื่อสาร
-พูดนำเสนอข้อมูลที่หาได้จากแหล่งเรียนรู้ต่างๆให้ครูและเพื่อนๆฟังได้
- นำเสนอสินค้าที่จะขายได้
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
  สามารถทำงานเป็นทีมและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นได้
คุณลักษณะ
- กระตือรือร้นในการทำงาน
- มีความพยายามทำงานจนสำเร็จ
รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น

กล้าแสดงความคิดเห็น
9
โจทย์ : ทำไมต้องมีอาเซียน/อาเซียนในอนาคต
Key Questions :
- นักเรียนคิดว่ามื่อเปิดประชาคมอาเซียนจะเกิดปัญหาและผลกระทบอย่างไรเพราะเหตุใด
- เด็กๆจะวางรับมือกับการเปลี่ยนแปลงที่จะเกดขึ้นอย่างไร
- 5ปีหลังเปิดประชาคมอาเซียนจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร
เครื่องมือคิด :
Round Rubin  : สนทนาเกี่ยวกับการถ่ายทอดความเข้าใจที่เรียนมาBlackboard Share:  การเปลี่ยนแปลงของประเทศตนเองใน 5 ปีข้างหน้าหลังเปิดประชาคมอาเซียน
Show and Share : นำเสนอภาพวาดของตนเอง
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้ :
ครู
นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้ :
บรรยากาศในชั้นเรียน
- ห้องสมุด/หนังสือ
สี/ปากกาเคมี

- กระดาษ A3 A4 100ปอนด์
- ครูเปิดคลิป รถไฟความเร็วสูงที่กำลังจะเกิดขึ้นให้เด็กๆดู
-ครูกระตุ้นคิดด้วยคำถาม นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้างจากคลิปรถไฟความเร็วสูง
-ครูกระตุ้นคิดด้วยคำถามถ้าไม่มีการก่อสร้างรถไฟต่อนักเรียนคิดว่าอาเซียนจะเป็นอย่างไรในอนาคตเพราะเหตุใด
-นักเรียนวิเคราะห์ว่าถ้ามี/ไม่มีการสร้างรถไฟ ประเทศไทยจะเป็นอย่างไรเมื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียนพร้อมนำเสนอครูละเพื่อนๆฟัง
ครูกระตุ้นคิดด้วยคำถาม
-นักเรียนคิดว่าหลังจากเปิดประชาคมอาเซียนได้ 5 ปีประเทศของตนเองจะเกิดการเปลี่ยนแปลงด้านใดบ้างเพราะเหตุใด
-ครูและนักเรียนสนทนาร่วมกันว่าหลังเปิดอาเซียนได้5 ปีจะเกิดการเปลี่ยนแปลงด้านใดบ้าง ผ่านเครื่องมือคิด Blackboard Share
-นักเรียนวาดภาพขาว-ดำ แสดงถึงประเทศตนเองใน 5 ปีข้างหน้าหลังเปิดประชาคมอาเซียนพร้อมนำเสนอให้ครูและเพื่อนฟังผ่านเครื่องมือคิด Show and Share
ครูกระตุ้นติดด้วยคำถามนักเรียนจะออกแบบวางแผนการถ่ายทอดความงอกงามใน Quarter นี้อย่างไร
- ครูและนักเรียนสนทนาว่านำเสนอสิ่งที่เรียนมาอย่างไรให้ผู้อื่นเข้าใจและจะนำเสนออย่างไรให้น่าสนใจ
- นักเรียนวาดภาพนำเสนอประเทศตนเองบนกระดาษ A3(ฉบับร่าง)
- นักเรียนซ้อมละครเพื่อถ่ายทอดความเข้าใจที่ได้เรียนมา
 นักเรียนนำเสนอภาพฉบับร่างของตนเองให้ครูและเพื่อนดูผ่านเครื่องมือคิด Show and Share
- นักเรียนวาดภาพลงในกระดาษร้อยปอนด์พร้องลงสีให้สวยงาม
- นักเรียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ชิ้นงาน
- ชาร์ตความรู้วิเคราะห์ว่าถ้ามี/ไม่มีการสร้างรถไฟ ประเทศไทยจะเป็นอย่างไร
- ภาพขาว-ดำ แสดงถึงความเปลี่ยนแปลงของประเทศตนเองที่จะเกิดขึ้นหลังจากเปิดประชาคมอาเซียนได้ 5 ปี
- ภาพนำเสนอประเทศตนเองบนกระดาษ A3(ฉบับร่าง)
- ภาพนำเสนอประเทศตนเองบนกระดาษ ร้อยปอนด์พร้อมลงสี
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน
-  วิเคราะห์ประเทศตนเองในอนาคตว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร
-ออกแบบวางแผนการถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจที่ได้เรียนมาตลอดทั้งQuarter

- แลกเปลี่ยนสะท้อนสิ่งที่เรียนรู้ตลอดสัปดาห์
ความรู้
- รู้และเข้าใจเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นหลังจากเปิดประชาคมอาเซียนแลอาเซียนในอนาคต
 ทักษะ:
 ทักษะชีวิต
-  ใช้ทรัพยากรของห้องที่มีอยู่อย่างจำกัดให้คุ้มค่าเช่น สี กระดาษ กรรไกร
-เห็นการเชื่อมโยง เห็นความสัมพันธ์ของเนื้อหาและกิจกรรมที่เรียน
ทักษะการคิด
คิดสร้างสรรค์ชิ้นงาน ออกแบบชิ้นงานเช่น ภาพอาเซียนในอนาคต
-  คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
- คิดออกแบบวางแผนการถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจที่ได้เรียนมาตลอดทั้งQuarter
ทักษะการสื่อสาร
-พูดนำเสนอภาพวาดของตนเองให้ครูและเพื่อนๆฟังได้
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
  สามารถทำงานเป็นทีมและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นได้
คุณลักษณะ
- กระตือรือร้นในการทำงาน
- มีความพยายามทำงานจนสำเร็จ
รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น

กล้าแสดงความคิดเห็น
10
สรุปความเข้าใจเพื่อถ่ายทอดนำเสนอหน่วยอาเซียน
- การสรุปความเข้าเกี่ยวกับสิ่งที่เรียนรู้มาทั้งหมด
- การตรวจสอบ การประเมินตนเองและผู้อื่น
Key Question:
- นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้างจากการเรียนหน่วยหน่วย “we are oneตะลุยอาเซียน””และจะนำเสนอผลงานให้ผู้อื่นรู้และเข้าใจได้อย่างไรบ้าง
- สิ่งที่ทำดีแล้ว และสิ่งที่ควรปรับปรุงมีอะไรบ้าง
สื่อและแหล่งเรียนรู้:
- ห้องเรียน
- กระดาษ A4, A3

- นักเรียนร่วมกันทบทวนกิจกรรมที่เรียนผ่านมาทั้งหมดในโครงงาน
“Asean”
-  นักเรียนเขียนสรุปองค์ความรู้เป็น  Mind Mapping หลังเรียน/ นำเสนอ
- นักเรียนและครูร่วมกันประเมินเพื่อสะท้อนผลงาน
-  นักเรียนระดมความคิดเขียน สิ่งที่ทำได้ดี และ สิ่งที่ควรปรับปรุง เกี่ยวกับการเรียนโครงงานเรื่อง “Asean”
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน
เขียนสิ่งที่ดีแล้วสิ่งที่ควรปรับปรุง
จัดนิทรรศการ
และนำเสนอ
นิทรรศการ
แสดงละคร
เขียนตอบคำถามสิ่งที่อยากเรียนรู้
ชิ้นงาน
- Mind Mapping
สรุปองค์ความรู้หลังเรียน
ตอบคำถามสิ่งที่อยากเรียนรู้
สรุปการเรียนรู้ราย
สัปดาห์
ความรู้
สามารถเผยแพร่และถ่ายทอดองค์ความรู้เกี่ยวกับ หน่วย “we are oneตะลุยอาเซียน”
ให้ผู้อื่นเข้าใจได้
 ทักษะ:
 ทักษะชีวิต
-  ใช้ทรัพยากรของห้องที่มีอยู่อย่างจำกัดให้คุ้มค่าเช่น สี กระดาษ กรรไกร
-เห็นการเชื่อมโยง เห็นความสัมพันธ์ของเนื้อหาและกิจกรรมที่เรียน
ทักษะการคิด
คิดสร้างสรรค์ ออกแบบการนำเสนอผลงานและออกแบบการจัดนิทัศการ
- คิดออกแบบวางแผนการเดินทางได้
ทักษะการสื่อสาร
-พูดนำเสนอในสิ่งที่เรียนมาทั้ง9 สัปดาห์ให้ครู,ผู้ปกครองและพี่ๆน้องๆได้ฟัง
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
  สามารถทำงานเป็นทีมและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นได้
คุณลักษณะ
- กระตือรือร้นในการทำงาน
- มีความพยายามทำงานจนสำเร็จ
 รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
กล้าแสดงความคิดเห็น

ตารางวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างสาระการเรียนรู้กับมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดแต่ละกลุ่มสาระ
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง “We are one ตะลุยอาเซียน” ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 1/2557 (Quarter 2)

สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชาและตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษา ศาสนา
 และวัฒนธรรม
การงานอาชีพ
และเทคโนโลยี
สุขศึกษาและพลานามัย
ศิลปะ
ประวัติศาสตร์
- สร้างฉันทะ/สร้างแรงบันดาลใจ
- เรื่องที่อยากเรียนรู้
- เลือกหัวข้อโครงงาน
- สิ่งที่รู้แล้ว   สิ่งที่อยากเรียนรู้
- ปฏิทินการเรียนรู้
- Mind Mapping
ก่อนเรียน

มาตรฐาน ว 8.1
- ตั้งคำถามเกี่ยวกับประเด็นเรื่องหรือสถานการณ์ที่จะศึกษา รวมทั้งปัญหาที่อยากแก้ไขตามความสนใจ
 (ว 8.1  ป.5/1)
- วางแผนการเรียนรู้ การศึกษาค้นคว้า  เสนอวิธีสำรวจตรวจสอบหรือศึกษาค้นคว้าและคาดการณ์สิ่งที่จะพบจากการศึกษาค้นคว้า
(ว 8.1 ป.5/2)
- สร้างคำถามใหม่จากสิ่งที่อยากเรียนรู้ และประเด็นปัญหาที่อยากแก้ไข (ว 8.1ป.5/5)
- เข้าใจและสามารถอธิบายแสดงความคิดเห็นนำเสนอและให้เหตุผลเกี่ยวกับเรื่องหรือหัวข้อที่ตนเองสนใจได้ (ว 8.1 ป.5/6)
- นำเสนอผลงานการเขียนสรุปปัญหา สิ่งที่อยากเรียนรู้ปฏิทินให้ผู้อื่นเข้าใจได้
(ว 8.1 ป.5/8)
มาตรฐาน ส 2.1
- เข้าใจและเห็นคุณค่าวัฒนธรรมไทยที่มีผลต่อการดำรงชีวิตในสังคมไทย(2.1 ป.5/3)
- เข้าใจและแสดงออกถึงมารยาทไทยได้เหมาะสมกับกาลเทศ
 (ส 2.1 ป.6/3)
- ติดตามข้อมูลข่าวสารเหตุการณ์ต่างๆในชีวิต
ประจำวันเลือกรับและใช้ข้อมูลข่าวสารได้อย่างเหมาะสม(ส 2.1 ป.6/5)

มาตรฐาน ง1.1
- มีทักษะในการทำงานให้บรรลุตามเป้าหมายที่วางไว้อย่างเป็นขั้นตอนและอธิบายเหตุผลในการทำงานได้(ง 1.1 ป.5/1-2)
- ปฏิบัติตนอย่างมีมารยาทในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
(ง 1.1 ป.5/3)
- มีจิตสำนึกในการใช้พลังงานและทรัพยากรในการทำงานได้อย่างคุ้มค่าและเกิดประโยชน์สูงสุด (ง 1.1 ป.5/4)
มาตรฐาน ง 2.1
สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีอย่างสรรค์และไม่ส่งผลต่อสิ่งแวดล้อม (2.1.2/4)

มาตรฐาน พ 2.1
- เข้าใจและสามารถอธิบายความสำคัญของการสร้างและรักษาสัมพันธภาพในการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
( พ 2.1 ป.6/1 )
มาตรฐาน  พ 3.1
- ใช้ความสามารถของตนเองเพื่อเพิ่มศักยภาพของทีม คำนึงถึงผลที่เกิดต่อผู้อื่นและชุมชน  ( พ 3.1 ม.4/2 )
มาตรฐาน ศ1.1
- วาดภาพโดยใช้เทคนิคของแสง เงา  น้ำหนัก และวรรณะสี(ศ 1.1 ป.5/3)
- สร้างงานทัศนศิลป์เป็นแผนภาพแผนผังและภาพประกอบเกี่ยวกับเรื่องที่อยากเรียนรู้และสนใจ เพื่อถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจ
 (ศ 1.1 ป.6/7)
มาตรฐาน ส 4.1
- เข้าใจเรื่องราวและสามารถสืบค้นข้อมูลความเป็นมาของอาเซียน จากหลักฐานที่หลากหลาย(ส 4.1 .5/1)
- เข้าใจและสามารถรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับอาเซียน เพื่อตอบคำถามอย่างมีเหตุผล
(ส 4.1 .5/2)





สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชาและตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษา ศาสนา
 และวัฒนธรรม
การงานอาชีพ
และเทคโนโลยี
สุขศึกษาและพลานามัย
ศิลปะ
ประวัติศาสตร์
1. ประวัติ
ความหมาย ความเป็นมาและความสำคัญของอาเซียน

มาตรฐาน ว 7.2
สืบค้นและอภิปรายความหมายความสำคัญของอาเซียน (ว7.2 ป.6/1)
มาตรฐาน ว 8.1
- ตั้งคำถามเกี่ยวกับความเป็นมาและความสำคัญของอาเซียนได้ (8.1 .5/1 )
- เข้าใจและสามารถอธิบายแสดงความคิดเห็นอย่างอิสระเกี่ยวกับความเป็นมาและความสำคัญของอาเซียนได้( 8.1 .5/6 )
- เข้าใจและสามรถนำเสนอข้อมูลเกี่ยวกับอาเซียนได้อย่างมีเหตุผล (8.1.5/8 )
มาตรฐาน ส 2.1
- เห็นคุณค่าวัฒนธรรมไทยที่มีผลต่อการดำเนินชีวิตในสังคมไทย 
(2.1 .5/ 3)
- เข้าใจและสามารถติดตามข้อมูลข่าวสารเหตุการณ์ต่างๆในชีวิตประจำวันเลือกรับและใช้ข้อมูลข่าวสารในการเรียนรู้ได้เหมาะสม      (ส 2.1 ป.6/5 )
- เคารพและให้เกียรติในสิทธิและเสรีภาพของตนเองและผู้อื่นในการทำงานกลุ่ม(2.1. 1/4)
มาตรฐาน ส 3.1
- เข้าใจและสามารถบอกวิธีและประโยชน์การใช้ทรัพยากรอย่างยั่งยืน  (ส 3.1 ป.6/3 )
มาตรฐาน ง1.1
- ใช้ทักษะการจัดการทำงานอย่างเป็นระบบประณีตและมีความคิดสร้างสรรค์
(ง 1.1 ป.5 /2)
- ปฏิบัติตนอย่างมีมารยาทในการทำงา (ง 1.1 ป.5/3)
- อภิปรายแนวทางในการทำงานและปรับปรุงการทำงานในแต่ละขั้นตอน
(ง 1.1  ป.6 /1 )
- ใช้กระบวนการกลุ่มในการทำงานด้วยความเสียสละ  (ง 1.1  ม.1 /2 )
- ตัดสินใจแก้ปัญหาการทำงานอย่างมีเหตุผล 
(ง 1.1  ม.1 /3 )
- มีทักษะกระบวนการแก้ปัญหาในการทำงาน
 (ง 1.1 ม.4 /4 )
- สามารถตัดสินใจแก้ปัญหาอย่างมีเหตุผล
 (1.1 .1/3)
มาตรฐาน ง 2.1
เข้าใจและสามารถเลือกใช้เทคโนโลยีอย่างสรรค์และไม่ส่งผลต่อสิ่งแวดล้อม
(2.1.2/4)
มาตรฐาน พ 2.1
อธิบายความสำคัญของการสร้างงานและรักษาสัมพันธภาพในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
(พ2.1 ป.6/1)
มาตรฐาน ศ1.1
- เข้าใจและสามารถสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์เพื่อสื่อความหมายความเป็นมาและความสำคัญของอาเซียนได้
 (ศ 1.1 ป.6/1/2/3/5)
- เข้าใจและสามารถสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์เป็นภาพวาดได้อย่างสร้างสรรค์ (ศ 1.1 ป.6/7)

มาตรฐาน ส 4.1
- เข้าใจและสามารถสืบค้นประวัติความเป็นมาของอาเซียนโดยใช้หลักฐานที่หลากหลาย
 (ส 4.1 ป.5/1)
- เข้าใจและสามารถรวบรวมข้อมูลจากแหล่งต่างๆเพื่อตอบคำถามเกี่ยวกับอาเซียนอย่างมีเหตุผล (ส 4.1 ป.5/2)
- เข้าใจและสามารถอธิบายความแตกต่างระหว่างความจริงกับข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเรื่องราวในท้องถิ่น (ส 4.1 ป.5/3)         


  

สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชาและตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษา ศาสนา
 และวัฒนธรรม
การงานอาชีพ
และเทคโนโลยี
สุขศึกษาและพลานามัย
ศิลปะ
ประวัติศาสตร์
2. ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
- พุทธ
- คริสต์
- อิสลาม
- พราหมณ์
- ซิกข์
มาตรฐาน ว 8.1
- ตั้งคำถามเกี่ยวกับประเด็นหรือเรื่องที่จะศึกษาตามที่กำหนดให้และตามความสนใจ
(ว 8.1 ป.6/1 )
- แสดงความคิดเห็นได้อย่างอิสระและสรุปสิ่งที่เรียนรู้เกี่ยวกับศาสนาและความเชื่อ
(8.1  ป.6/6 )
- นำเสนอ จัดแสดงผลงานโดยอธิบายด้วยวาจา หรือเขียนอธิบายแสดงกระบวนการและ
ผลของงานให้ผู้อื่นเข้าใจ (8.1  ป.6/8 )
มาตรฐาน ส 1.1
- สามารถอธิบายการเผยแผ่พระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือสู่ประเทศต่างๆทั่วโลก
(ส 1.1  ม.2 /1 )
- ระบุความสำคัญของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือในฐานะที่ช่วยสร้างสรรค์อารยธรรมและความสงบสุขแก่โลก                 (ส 1.1  ม.3 /2 )
- วิเคราะห์ความแตกต่างและยอมรับวิถีการดำเนินชีวิตของศาสนิกชนในศาสนาอื่นๆ       (ส 1.1  ม.3 /10 )
มาตรฐาน ส 1.2
- อธิบายความแตกต่างของศาสนพิธี พิธีกรรม ตามแนวปฏิบัติของศาสนาอื่นๆเพื่อนำไปสู่การยอมรับ และความเข้าใจซึ่งกันและกัน              (ส 1.2  ม.2 /5 )                                                   - สามารถเสนอแนะแนวทางในการธำรงรักษาศาสนาที่ตนนับถืออันส่งผลถึงการพัฒนาตนและพัฒนาโลก
 (ส 1.2  ม.4 /5 )
มาตรฐาน ง 1.1
- อภิปรายแนวทางในการทำงานและปรับปรุงการทำงานในแต่ละขั้นตอน (ง 1.1  ป.6 /1 )
- ใช้กระบวนการกลุ่มในการทำงานด้วยความเสียสละ (ง 1.1 ม.1 /2 )
- ตัดสินใจแก้ปัญหาการทำงานอย่างมีเหตุผล
 (ง 1.1 ม.1 /3 )
- มีทักษะกระบวนการแก้ปัญหาในการทำงาน  (ง 1.1  ม.4 /4 )
- มีทักษะในการแสวงหาความรู้เพื่อการดำรงชีวิต (ง 1.1 ม.4 /5 )
มาตรฐาน ง 3.1
ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างชิ้นงานจากจินตนาการหรืองานที่ทำในชีวิตประจำวันอย่างมีจิตสำนึก และความรับผิดชอบ(ง3.1 ป.6 /5 )

มาตรฐาน พ 1.1
ระบุปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการทางด้านร่างกายอารมณ์ สังคม และสติปัญญาของมนุษย์ในแต่ละทวีป
(พ1.1  ม.2 /2 )
มาตรฐาน พ 2.1
วิเคราะห์ค่านิยมและความแตกต่างของวัฒนธรรมไทยกับวัฒนธรรมของ           ประเทศอื่นๆ
(พ2.1  ม.4 /2 )
มาตรฐาน ศ1.2
เปรียบเทียบความแตกต่างของงานทัศนศิลป์ในแต่ละยุคสมัยของวัฒนธรรมไทยและสากลโดยเฉพาะด้านศาสนาและความเชื่อ
(ศ1.2  ม.3/2)

- เข้าใจและสามารถสืบค้นประวัติความเป็นมาของศาสนาโดยใช้หลักฐานที่หลากหลาย
(ส 4.1 ป.5/1)
- เข้าใจและสามารถรวบรวมข้อมูลจากแหล่งต่างๆเพื่อตอบคำถามเกี่ยวกับศาสนา
อย่างมีเหตุผล
(ส 4.1 ป.5/2)




สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชาและตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษา ศาสนา
 และวัฒนธรรม
การงานอาชีพ
และเทคโนโลยี
สุขศึกษาและพลานามัย
ศิลปะ
ประวัติศาสตร์
3. หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรมและการดำเนินชีวิตในสังคม
- การเมืองการปกครอง
กฎหมาย  สนธิสัญญา กลุ่มประเทศ
- การปกครองแบบต่างๆที่ใช้ในยุคปัจจุบัน
- ความเหมือนและความแตกต่างของการเมืองการปกครองของประเทศต่างๆ

มาตรฐาน ว 8.1
- สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างอิสระ อธิบายและลงความเห็น สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้เกี่ยวกับความเหมือนและความแตกต่างทางการเมืองการปกครองของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
 (ว 8.1  ป.6/6 )
- นำเสนอ จัดแสดงผลงานโดยอธิบายด้วยวาจา หรือเขียนอธิบายแสดงกระบวนการและผลของงานให้ผู้อื่นเข้าใจ
 (ว 8.1  ป.6/8 )
มาตรฐาน ส 2.1
วิเคราะห์และปฏิบัติตนตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับตนเอง ครอบครัว  ชุมชน ประเทศชาติและสังคมโลก (ส 2. 1 ม.4/1 )
มาตรฐาน ส 2.2
- วิเคราะห์เปรียบเทียบระบอบการปกครองของไทยกับประเทศอื่นๆ
 (ส 2.2  ม.3/2)
- เสนอแนวทางการเมืองการปกครองที่นำไปสู่ความเข้าใจ และการประสานประโยชน์ร่วมกันระหว่างประเทศ
(ส 2.2  ม.4/2)
มาตรฐาน ง 1.1
- ใช้กระบวนการกลุ่มในการทำงานด้วยความเสียสละ
 (ง 1.1  ม.1 /2 )
- ตัดสินใจแก้ปัญหาการทำงานอย่างมีเหตุผล
(ง 1.1  ม.1 /3 )
- มีทักษะกระบวนการแก้ปัญหาในการทำงาน (ง1. /ม.4 /4 )
มาตรฐาน ง 3.1
ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองานในรูปแบบที่เหมาะสมกับลักษณะงาน (ง 3.1 ม.3 /3)
มาตรฐาน พ 1.2
อธิบายความสำคัญของการสร้างและรักษาสัมพันธภาพกับผู้อื่น(พ1.2  ป.6 /1)
มาตรฐาน พ 4.1
เสนอแนะวิธีปฏิบัติตน เพื่อจัดการกับอารมณ์และความเครียดที่เกิดจากปัญหาทางด้านการเมือง(พ4.1ม.2 /6 )
มาตรฐาน ศ 1.1
สร้างงานทัศนศิลป์เป็นแผนภาพแผนผังและภาพประกอบเกี่ยวกับการปกครองในระบบต่างๆ เพื่อถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจ (ศ 1.1  ป.6/7)
- เข้าใจและสามารถสืบค้นประวัติความเป็นมาของการปกครองแบบต่างๆตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบันโดยใช้หลักฐานที่หลากหลาย
(ส 4.1 ป.5/1)
- เข้าใจและสามารถรวบรวมข้อมูลจากแหล่งต่างๆเพื่อตอบคำถามเกี่ยวกับการปกครองแบบต่างๆตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบันอย่างมีเหตุผล
(ส 4.1 ป.5/2)

  

สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชาและตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษา ศาสนา
 และวัฒนธรรม
การงานอาชีพ
และเทคโนโลยี
สุขศึกษาและพลานามัย
ศิลปะ
ประวัติศาสตร์
4. เศรษฐศาสตร์
- การค้า
- เงินตรา
-  อุตสาหกรรม
- การรวมกลุ่มทางการค้า
- การเปิดเสรีทางการค้า
- สาเหตุของกีดกันทางการค้าในระหว่างประเทศของทวีปเอเชีย
มาตรฐาน ว 8.1
สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างอิสระ อธิบายและลงความเห็น สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้เกี่ยวกับความสำคัญของทรัพยากรธรรมชาติ การใช้ให้เกิดประโยชน์ทางเศรษฐกิจในระดับท้องถิ่น ประเทศ และโลก นำความรู้ไปใช้ในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นอย่างยั่งยืน             
(ว 8.1  ป.6/6 )
 มาตรฐาน ส 3.1
- ระบุปัจจัยในการผลิตสินค้าและบริการของประเทศต่างๆทั่วโลก  (ส 3.1 /ม.2/2 )
- วิเคราะห์พฤติกรรมและค่านิยมของคนทั่วโลกที่ส่งผลต่อระบบเศรษฐกิจ
(ส 3.1 /ม.1/2 )
- สามารถอธิบายถึงความสำคัญของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่มีต่อเศรษฐกิจสังคมโลก            (ส 3.1 /ม.1/3 )
มาตรฐาน ง 3.1
ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างชิ้นงานจากจินตนาการหรืองานที่ทำในชีวิตประจำวันอย่างมีจิตสำนึก และความรับผิดชอบ   
(ง 3.1  ป.6 /5 )
มาตรฐาน ง 4.1
ประเมินทางเลือกในการประกอบอาชีพสอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
 (ง4.1 ม.3 /3 )
มาตรฐาน พ 4.1
เสนอแนะวิธีปฏิบัติตน เพื่อจัดการกับอารมณ์และความเครียดที่เกิดจากปัญหาทางด้านเศรษฐกิจ
(พ4.1  ม.2 /6 )
มาตรฐาน ศ 1.1
สร้างงานทัศนศิลป์เป็นแผนภาพแผนผังและภาพประกอบเกี่ยวกับลักษณะทางภูมิศาสตร์ทางกายภาพของทวีปต่างๆ  เพื่อถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจ
(ศ 1.1  ป.6/7)
- เข้าใจและสามารถสืบค้นประวัติความเป็นมาของการรวมกลุ่มโดยใช้หลักฐานที่หลากหลาย
 (ส 4.1 ป.5/1)
- เข้าใจและสามารถรวบรวมข้อมูลจากแหล่งต่างๆเพื่อตอบคำถามเกี่ยวกับการรวมกลุ่มอย่างมีเหตุผล
(ส 4.1 ป.5/2)
- เข้าใจและสามารถอธิบายความแตกต่างระหว่างความจริงกับข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเรื่องราวในท้องถิ่น    
(ส 4.1 ป.5/3)    


สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชาและตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษา ศาสนา
 และวัฒนธรรม
การงานอาชีพ
และเทคโนโลยี
สุขศึกษาและพลานามัย
ศิลปะ
ประวัติศาสตร์
5. ภูมิศาสตร์
- ลักษณะทางกายภาพและทางสังคมของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
- ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
- สาเหตุการเปลี่ยนแปลงธรรมชาติในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
- ทรัพยากรธรรมชาติ
มาตรฐาน ว 2.2
- สืบค้นข้อมูลและอภิปรายแหล่งทรัพยากรในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
 (ว 2.2  ป.6/1)
- สามารถวิเคราะห์สภาพปัญหา สาเหตุของปัญหาสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรในระดับโลก (ว 2.2  ม.4/1)
- อภิปรายแนวทางในการป้องกัน แก้ไข ปัญหาสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
(ว 2.2  ม.4/2 )
มาตรฐาน ว 6.1
-  สืบค้น วิเคราะห์ และอธิบายปัจจัยทางธรรมชาติและการกระทำของมนุษย์ที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลก รูโหว่โอโซนและฝนกรด
(ว 6.1 ม.1/6 )
- อธิบายผลของการเกิดภาวะโลกร้อนรูโหว่โอโซนและฝนกรดที่มีต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
(ว 6.1 ม.1/7 )
มาตรฐาน ว 8.1
- ตั้งคำถามเกี่ยวกับประเด็นหรือเรื่องที่จะศึกษาตามที่กำหนดให้และตามความสนใจ
(8.1 ป.6/1 )
- เลือกอุปกรณ์ที่ถูกต้องเหมาะสมในการสำรวจตรวจสอบข้อมูล
(ว 8.1 ป.6/3 )
- นำเสนอ จัดแสดงผลงานโดยอธิบายด้วยวาจา หรือเขียนอธิบายแสดงกระบวนการและผลของงานให้ผู้อื่นเข้าใจ
(ว 8.1  ป.6/8 )
มาตรฐาน ส 2.1
รู้และเข้าใจเกี่ยวกับแนวทางในการปฏิบัติตนของประเทศในแต่ละทวีปความแตกต่างของแต่ละทวีป
(ส 2.1 ม.4/1)
มาตรฐาน ส 5.1
- สามารถประเมินการเปลี่ยนแปลงธรรมชาติในทวีปเอเชียว่าเป็นผลมาจากการกระทำของมนุษย์หรือธรรมชาติ
(ส 5.1  ม.4/4 )
- อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางกายภาพกับปรากฏการณ์ทางธรรมชาติของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
(ส 5.1  ม.2/2 )

- ใช้เครื่องมือทางภูมิศาสตร์           
( แผนที่, ภาพถ่ายชนิดต่างๆ, ลูกโลกกราฟ ) ในการสืบค้นข้อมูล เพื่อวิเคราะห์ลักษณะทางกายภาพและสังคมของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
 (ส 5.1  ป.6/1 )
- วิเคราะห์  เชื่อมโยงสาเหตุและแนวทางป้องกันภัยธรรมชาติและการระวังภัยที่เกิดขึ้นของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
 (ส 5.1  ม.1/3 )
มาตรฐาน ส 5.2
- วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมทางสังคมของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
 (ส 5.2  ป.6/1 )
- อธิบายการเปลี่ยนแปลงของสภาพธรรมชาติและทางสังคมของทวีปเอเชีย
(ส 5.2  ม.2 /1 )
- วิเคราะห์วิกฤติการณ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของทวีป (ส 5.2  ม.4 /1 )
- มีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาและการดำเนินชีวิตตามแนวทางอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
(ส5.2 ม.4/5 )
- วิเคราะห์เหตุและผลกระทบที่ประเทศไทยได้รับจากการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมในทวีปเอเชียได้ (ส 5.2  ม.2 /4 )  
มาตรฐาน ง 1.1
- อภิปรายแนวทางในการทำงานและปรับปรุงการทำงานในแต่ละขั้นตอน
(ง 1.1 ป.6 /1 )
- ใช้กระบวนการกลุ่มในการทำงานด้วยความเสียสละ         
(ง 1.1 ม.1 /2 )
- ตัดสินใจแก้ปัญหาการทำงานอย่างมีเหตุผล
 (ง 1.1 ม.1 /3 )
- ปฏิบัติตนอย่างมีมารยาทในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
(ง 1.1  ป.6 /3 )
-ใช้พลังงานและทรัพยากรในการทำงานอย่างคุ้มค่าและยั่งยืนเพื่อการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม(ง1.1 ม.4 /7 )
มาตรฐาน ง 2.1
เลือกใช้เทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์ต่อชีวิต  สังคม  สิ่งแวดล้อม และมีการจัดการเทคโนโลยีด้วยการลดการใช้ทรัพยากร  หรือเลือกใช้เทคโนโลยี ที่ไม่มีผลกระทบ ต่อสิ่งแวดล้อม
(ง 2.1  ม.2 /4 )
มาตรฐาน ง 3.1
- ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองานในรูปแบบที่เหมาะสมกับลักษณะงาน
 (ง 3.1 ม.3 /3)
- ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างชิ้นงานจากจินตนาการหรืองานที่ทำในชีวิตประจำวันอย่างมีจิตสำนึก และความรับผิดชอบ
(3.1 ป.6 /5 )
มาตรฐาน พ 5.1
- วิเคราะห์ผลกระทบจากความรุนแรงของภัยธรรมชาติที่มีต่อร่างกาย จิตใจ  และสังคมของคนในแต่ละประเทศ
(พ5.1 ป.6 /1 )
- ระบุวิธีปฏิบัติตน   เพื่อความปลอดภัยจากภัยธรรมชาติ
(พ5.1  ป.6 /2 )
มาตรฐาน พ 2.1
เห็นความสำคัญของการทำงานร่วมกับผู้อื่น มีน้ำใจ และรักษาสัมพันธภาพที่ดีต่อผู้อื่นได้ (พ 2.1  ป.6/1)
มาตรฐาน ศ 1.1
สร้างงานทัศนศิลป์เป็นแผนภาพแผนผังและภาพประกอบเกี่ยวกับลักษณะทางภูมิศาสตร์ทางกายภาพของทวีปต่างๆ  เพื่อถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจ
(ศ 1.1  ป.6/7)
- เข้าใจและสามารถสืบค้นประวัติความเป็นมาของภูมิศาสตร์โดยใช้หลักฐานที่หลากหลาย
(ส 4.1 ป.5/1)
- เข้าใจและสามารถรวบรวมข้อมูลจากแหล่งต่างๆเพื่อตอบคำถามเกี่ยวกับภูมิศาสตร์อย่างมีเหตุผล (ส 4.1 ป.5/2)
- เข้าใจและสามารถอธิบายความแตกต่างระหว่างความจริงกับข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเรื่องราวในท้องถิ่น    
(ส 4.1 ป.5/3)    
  

สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชาและตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษา ศาสนา
 และวัฒนธรรม
การงานอาชีพ
และเทคโนโลยี
สุขศึกษาและพลานามัย
ศิลปะ
ประวัติศาสตร์
6. สรุปองค์ความรู้
- สิ่งที่ดีแล้ว
- สิ่งที่ควรปรังปรุง
- Mind mapping
หลังเรียน
มาตรฐาน ว 2.2
- วิเคราะห์ผลของการเพิ่มขึ้นของประชากรมนุษย์ต่อการใช้ทรัพยากรธรรมชาติและการเปลี่ยนแปลงของระบบนิเวศทั้งต่อโลก สังคม ชุมชนและตัวเราเอง ( ว 2.2 ป.6/2 )
- วิเคราะห์สภาพปัญหา  สาเหตุของปัญหาที่เกิดจากการใช้ทรัพยากรธรรมชาติในระดับท้องถิ่น ประเทศและระดับโลก
(ว 2.2 ม.4/1)
มาตรฐาน ว 8.1
- ตั้งคำถามเกี่ยวกับประเด็นหรือเรื่องที่จะศึกษาตามที่กำหนดให้และตามความสนใจ                 (ว 8.1 ป.6/1 )
- เข้าใจและสามารถแสดงความคิดเห็นได้อย่างอิสระและสรุปสิ่งที่เรียนรู้เกี่ยวกับอาเซียนได้  (ว 8.1 ป.6/6 )
- นำเสนอ จัดแสดงผลงานโดยอธิบายด้วยวาจา หรือเขียนอธิบายแสดงกระบวนการและผลของงานให้ผู้อื่นเข้าใจ
(ว 8.1 ป.6/8)
มาตรฐาน ส2.1
- เห็นคุณค่าวัฒนธรรมไทยที่มีผลต่อการดำรงชีวิตในสังคมไทย 
(ส2.1 ป.5/3)
- เข้าใจและแสดงออกถึงมารยาทไทยได้เหมาะสมกับกาละเทศะ
(ส2.1 ป.6/3)
- ติดตามข้อมูลข่าวสารเหตุการณ์ต่างๆในชีวิตประจำวันเลือกรับและใช้ข้อมูลข่าวสารได้อย่างเหมาะสม
(ส2.1 ป.6/5)
มาตรฐาน ส 3.1
- ประยุกต์ใช้แนวคิดของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการทำกิจกรรมต่างๆในครอบครัว โรงเรียนและชุมชน (ส 3.1 ป.5/2)
- บอกวิธีและประโยชน์ของการใช้ทรัพยากรอย่างยั่งยืน (ส 3.1 ป6/3)
มาตรฐาน ส 5.2
- วิเคราะห์สภาพแวดล้อมทางกายภาพที่มีอิทธิพลต่อลักษณะการตั้งถิ่นฐานและการย้ายถิ่นของประชากรในภูมิภาค
 (ส 5.2 ป.5/1)
- นำเสนอตัวอย่างที่สะท้อนให้เห็นผลจากการรักษาและการทำลายสภาพแวดล้อมเพื่อใช้ในการเกษตรและเสนอแนวคิดในการรักษาสภาพแวดล้อมที่ตนอาศัยอยู่ ( 5.2 ป.5/3)
มาตรฐาน ง 1.1
- ใช้ทักษะการจัดการในการทำงานอย่างเป็นระบบประณีตและมีความคิดสร้างสรรค์
(ง 1.1 ป.5/2)
- มีจิตสำนึกในการใช้พลังงานและทรัพยากรอย่างประหยัดและคุ้มค่า
(ง 1.1 ป.5/4)
มาตรฐาน ง 2.1
- สามารถอธิบายความหมายและวิวัฒนาการของเทคโนโลยี (ง 2.1 ป.5/1)
- นำความรู้และทักษะการสร้างชิ้นงานไปใช้ประยุกต์สร้างสิ่งของเครื่องใช้ทางการเกษตร (ง 2.1 ป.5/3)
- เลือกใช้เทคโนโลยีในชีวิตประจำวันอย่างสร้างสรรค์ ต่อชีวิต สังคม และมีการจัดการสิ่งของเครื่องใช้ด้วยการแปรรูปแล้วนำกลับมาใช้ใหม่ (ง 2.1 ป.5/5)
มาตรฐานง 3.1
- ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองานในรูปแบบต่างๆได้อย่างเหมาะสมกับลักษณะงาน(ง 3.1 ม.3 /3)
- ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างชิ้นงานจากความเข้าใจตามจินตนาการหรืองานที่ทำในชีวิตประจำวันอย่างมีจิตสำนึก และความรับผิดชอบได้
(ง 3.1 ป.6 /5 )
 มาตรฐาน พ 2.1
- เข้าใจและสามารถระบุพฤติกรรมที่พึงประสงค์ในการแก้ไขปัญหาและความขัดแย้งระหว่างการทำงานร่วมกันได้อย่างมีเหตุมีผล (พ 2.1ป.5/3)
- เห็นความสำคัญของการทำงานร่วมกับผู้อื่น
มีน้ำใจ และรักษาสัมพันธภาพที่ดีต่อผู้อื่น (2.1 ป.6/1)
มาตรฐาน พ 3.1
- สามารถใช้ทักษะการเคลื่อนไหว แสดงท่าทางบทบาทสมมุติเพื่อสื่อสาร หรือถ่ายทอดความรู้ให้ผู้อื่นเข้าใจได้ (พ3.1ป.5/1)

มาตรฐาน ศ 1.1
- เข้าใจและสามารถเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างงานทัศนศิลป์ที่สร้างสรรค์ด้วยวัสดุอุปกรณ์และวิธีการที่แตกต่างกัน
(ศ1.1 ป.5/2)
สร้างงานทัศนศิลป์เป็นภาพประกอบเกี่ยวกับลักษณะทางภูมิศาสตร์ทางกายภาพของทวีปต่างๆ ของโลกหรือสิ่งประดิษฐ์ในอนาคต
(1.1  ป.6/7)
- เข้าใจและสามารถออกแบบรูปภาพ สัญลักษณ์ หรือกราฟิกในการนำเสนอความคิดและข้อมูลเกี่ยวชิ้นงานที่หลากหลายได้
(1.1 ม.1/5)
 มาตรฐาน ส 4.1
- เข้าใจและสามารถสืบค้นประวัติความเป็นมาของประเทศในกลุ่มอาเซียนโดยใช้หลักฐานที่หลากหลาย
(ส 4.1 ป.5/1)
- เข้าใจและสามารถรวบรวมข้อมูลจากแหล่งต่างๆเพื่อตอบคำถามเกี่ยวกับอาเซียน
อย่างมีเหตุผล
(ส 4.1 ป.5/2)
- เข้าใจและสามารถอธิบายความแตกต่างระหว่างความจริงกับข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเรื่องราวในท้องถิ่น    
(ส 4.1 ป.5/3)    

สิ่งที่รู้แล้วและสิ่งที่อยากเรียนรู้วิชาบูรณาการหน่วย : we are one ตะลุยอาเซียน
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 Quarter 2 ภาคเรียนที่ ปีการศึกษา 2557

สิ่งที่รู้แล้ว
สิ่งที่อยากเรียนรู้
- รู้ว่าปี2015 จะเปิดอาเซียน
- รู้ว่าประเทศไทยอยู่ในทวีปเอเชีย
- รู้ว่าประเทศไทยเป็นศูนย์กลางของอาเซียน
- รู้ว่าประเทศต่างๆมีประเพณีต่างกัน
- รู้ว่าทวีปเอเชียมี 5 ภูมิภาค
- รู้ว่าโลกมี 7 ทวีป
- รู้ว่าอินเดียเป็นแหล่งกำเนิดศาสนา
- รู้ว่าประเทศแต่ละประเทศเวลาไม่ตรงกัน
- รู้ว่าประเทศไทยเริ่มร้อน
- รู้ว่าพลังงานจะหมดไปเมื่อเปิดอาเซียน
- รู้ว่ามีเส้นทางรถไฟสายอาเซียน
- รู้ว่าประเทศไทยส่วนใหญ่ นับถือศาสนาพุทธ
-รู้ว่าอาเซียนมี 10 ประเทศ

- ทำไมโลกนี้มีหลายภาษา
- ทำไมแต่ละประเทศมีวัฒนธรรมแตกต่างกัน
- ทำไมมีหลายศาสนา
- ทำไมเศรษฐกิจแตกต่างกัน
- ทำไมบางประเทศมีหลายฤดู
- ภูมิประเทศของแต่ละประเทศในอาเซียนแตกต่างกันอย่างไร
- ทำไมต้องมีการปกครอง
- ทำไมต้องเปิดอาเซียน
- อาเซียน คืออะไร
- สัญลักษณ์ของ อาเซียนหมายถึงอะไร
- สถานที่ท่องเที่ยวที่สำคัญในกลุ่มประเทศ
อาเซียน
- ปัญหาที่ตามมาเมื่อเปิดประชาคมอาเซียน
- ข้อดีและข้อเสียเมื่อเปิดอาเซียน
- อาเซียนใช้ภาษาอะไรเป็นภาษากลางในการ
สื่อสาร
- มีอาชีพอะไรบ้างที่สามารถไปทำงานต่างประเทศได้เมื่อเปิดอาเซียน
- สีแดงในธงของแต่ละประเทศหมายถึงอะไร




ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น